
ทุนสำรวจโลก E-Listening
เกิดขึ้นจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และบริษัท เนกซ์สเตป จำกัด โดยเริ่มโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2546 และต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันเป็นครั้งที่ 19 และเพื่อเป็นการสานต่อโครงการ ทุนสำรวจโลก E-Listening ในปีนี้จึงมีแนวคิดร่วมกันในการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนทั่วประเทศ โดยการจัดสอบชิงทุนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในคณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จำนวน 100 ทุน มีมูลค่ารวมเป็นเงินทั้งสิ้นกว่า 35 ล้านบาท
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- ไม่จำกัดผลการเรียน
- ไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาโรงเรียนนานาชาติในประเทศหรือจากโรงเรียนในต่างประเทศ หรือเทียบวุฒิการศึกษาจากต่างประเทศ
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุนสำรวจโลก E-Listening ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ส่วนที่ 1 การทดสอบ ทฤษฎี ข้อสอบเป็นรูปแบบการตอบคำถาม เกี่ยวกับสาระความรู้ที่ได้จากการรับชมสารคดีผ่านทางแอพพลิเคชั่น Doxzilla สามารถสมัครและดาวน์โหลดได้ทางเว็บไซต์ doxzilla.com หรือ App Store และ Google Play (เงื่อนไขการรับชมเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด) สถานที่ วันและเวลาสอบจะแจ้งทางอีเมล์ของผู้สมัครในภายหลัง
- ศูนย์สอบ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
- ต้องผ่านคะแนนส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎีไม่น้อยกว่า 80%
- ส่วนที่ 2 การทดสอบ สัมภาษณ์ ในวันเดียวกันภายหลังการทดสอบส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- มหาวิทยาลัยจะประกาศผลและกำหนดการผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาในแต่ละทุนการศึกษา หัวข้อ “ประกาศผลและกำหนดการ”
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น

- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
- เป็นผู้มีความสามารถพิเศษ หรือมีผลงานทางวิชาการ/กิจกรรมโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม) ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไฟล์เดียวขนาดไม่เกิน 20 MB ในรูปแบบ Adobe Acrobat Reader Portable Document Format (.PDF) ส่งที่ อีเมล์ [email protected] แบบแนบไฟล์ผลงาน (Attachment File) เท่านั้น ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567 ระบุเรื่อง “ขอส่งแฟ้มสะสมผลงานเพื่อสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม) ของนาย/นางสาว(ชื่อ) (นามสกุล) (โรงเรียน)” มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ไม่รับพิจารณาการส่งผลงานผ่านช่องทางอื่น
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก จะต้องเข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการ โดยทางมหาวิทยาลัยจะแจ้งสถานที่ วัน และเวลา สัมภาษณ์ในภายหลัง ทางอีเมลของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น

- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- ไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนในต่างประเทศ หรือเทียบวุฒิการศึกษาจากต่างประเทศ
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป/li>
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนสอบแข่งขัน) ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี สถานที่ วันและเวลาจะแจ้งทางอีเมล์ของผู้สมัครในภายหลัง
- ศูนย์สอบ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
- ต้องผ่านคะแนนส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎีไม่น้อยกว่า 80%
- ส่วนที่ 2 การทดสอบ สัมภาษณ์ ในวันเดียวกันภายหลังการทดสอบส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น

- เป็นนักเรียนของโรงเรียนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป
- สมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องแจ้งความประสงค์ขอรับทุนการศึกษาผ่านฝ่ายแนะแนวของโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมอบสิทธิ์ให้แก่โรงเรียนที่จะกำหนดวิธีการอื่นใดเพิ่มเติมในการพิจารณาคัดเลือกส่งชื่อผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาตามจำนวนทุนการศึกษาที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญแจ้งไว้ในหนังสือมอบทุน ในกรณีโรงเรียนส่งชื่อผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาเพิ่มเติมหรือคุณสมบัตินอกเหนือจากที่มหาวิทยาลัยแจ้งไว้ในหนังสือมอบทุน การพิจารณาทุนการศึกษาให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- โรงเรียนส่ง หนังสือแจ้งรายชื่อของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา พร้อมระบุ คณะที่ประสงค์จะเข้าศึกษา โดยผู้อำนวยการหรือรักษาการแทนผู้อำนวยการของโรงเรียนเป็นผู้ลงนาม พร้อมตราประทับของโรงเรียน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566 ตามที่อยู่ ดังนี้
- "ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน" สำนักทะเบียนและประมวลผล, มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 592/3 ซ.รามคำแหง 24,แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับ ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566

- เป็นนักเรียนของโรงเรียนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้ โดยเข้าเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รวมระยะเวลา 12 ปี
- สมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องแจ้งความประสงค์ขอรับทุนการศึกษาผ่านโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่
- โรงเรียนส่ง หนังสือแจ้งรายชื่อของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา พร้อมระบุ คณะที่ประสงค์จะเข้าศึกษา โดยผู้อำนวยการหรือรักษาการแทนผู้อำนวยการของโรงเรียนเป็นผู้ลงนาม พร้อมตราประทับของโรงเรียน (ส่งพร้อม ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566) ตามที่อยู่ข้างต้น
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น

- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- มีผลการเรียนสะสม ไม่น้อยกว่า 2.00
- เป็นผู้มีความสามารถ และมีผลงานทางการกีฬาโดดเด่น ตามระเบียบและเงื่อนไขในการรับทุนนักกีฬาของมหาวิทยาลัย (รายละเอียดโครงการทุนนักกีฬา ระดับปริญญาตรี (แรกเข้า) ในชนิดกีฬาดังนี้ เทคควันโด ยูยิตสู คาราเต้โด ฮับคิโด ว่ายน้ำ กอล์ฟ เทนนิส แบดมินตัน เทเบิลเทนนิส หมากล้อม ครอสเวิรด์ ยิงปืน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- ผู้สมัครจะต้องกรอกรายละเอียดการสมัครขอรับทุนการศึกษา ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน ATHLETES SCHOLARSHIP (ทุนนักกีฬา ระดับปริญญาตรี) ผ่านทางเว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566
- ผู้สมัคร ต้อง ส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ขนาดไม่เกิน 20 MB ในรูปแบบไฟล์ PDF ส่งที่ อีเมล์ sa.cspf@au.edu หรือศูนย์การกีฬา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566
- ผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือกแฟ้มสะสมผลงาน จะต้องเข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการ โดยทางมหาวิทยาลัยจะแจ้งนัดหมาย วัน และเวลา สถานที่สัมภาษณ์ ภายหลัง ผ่านทางช่องทางติดต่อที่ให้ไว้ของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
(กยศ.)
เป็นโครงการของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้กู้ยืมเงินเพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าบำรุงการศึกษา ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา
สนใจติดต่อ
www.sa.au.edu
www.studentloan.or.th

การประกาศกำหนดการและผลการพิจารณาทุนการศึกษา
- มหาวิทยาลัยจะประกาศกำหนดการต่าง ๆ ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.edu และทางอีเมล์ของผู้สมัครฯ
หากผู้สมัครขอรับทุนฯ ไม่ได้กรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุนการศึกษา จะไม่ได้รับการแจ้งประกาศกำหนดการต่าง ๆ และถึงแม้นว่าจะผ่านการพิจารณาทุนการศึกษาก็จะไม่ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา
- การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.edu หัวข้อ “ประกาศผล”
ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ที่ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา จะต้องเข้าร่วมการประชุมสำหรับนักศึกษาทุนฯ ซึ่งจะจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ โดยจะแจ้งสถานที่ วันและเวลาการประชุมในภายหลัง และผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาที่มีความประสงค์จะยืนยันสิทธิ์ในการรับทุนการศึกษาต้องนำสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง จำนวน 1 ฉบับ มายื่นที่การประชุมดังกล่าว
- ผู้ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาต้องชำระค่าแรกเข้าและค่าลงทะเบียนเรียนหลักสูตรปรับพื้นฐานภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนดสำหรับนักศึกษาทุน โดยจะแจ้งให้ทราบในการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.eduหัวข้อ “ประกาศผล”
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญจะตัดสิทธิ์การได้รับทุนการศึกษา หากพบว่าผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษามิได้ปฎิบัติหรือมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566วันที่ 21 มีนาคม 2566 เวลา 17:00 น.
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์ทุน AU the Creator of Tomorrow ประจำปีการศึกษา 2566
ประกาศกำหนดการ ทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2566
ทุนสำรวจโลก E-Listening
เกิดขึ้นจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และบริษัท เนกซ์สเตป จำกัด โดยเริ่มโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2546 และต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันเป็นครั้งที่ 19 และเพื่อเป็นการสานต่อโครงการ ทุนสำรวจโลก E-Listening ในปีนี้จึงมีแนวคิดร่วมกันในการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนทั่วประเทศ โดยการจัดสอบชิงทุนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในคณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จำนวน 100 ทุน มีมูลค่ารวมเป็นเงินทั้งสิ้นกว่า 35 ล้านบาท
คุณสมบัติ
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- ไม่จำกัดผลการเรียน
- ไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาโรงเรียนนานาชาติในประเทศหรือจากโรงเรียนในต่างประเทศ หรือเทียบวุฒิการศึกษาจากต่างประเทศ
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุนสำรวจโลก E-Listening ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ส่วนที่ 1 การทดสอบ ทฤษฎี ข้อสอบเป็นรูปแบบการตอบคำถาม เกี่ยวกับสาระความรู้ที่ได้จากการรับชมสารคดีทางช่องรายการสำรวจโลก ทางช่องดิจิตอลทีวี “นิว 18” หรือที่เว็บไซต์ elistening.net สถานที่ วันและเวลาสอบจะแจ้งทางอีเมล์ของผู้สมัครในภายหลัง
- ศูนย์สอบ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
- ต้องผ่านคะแนนส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎีไม่น้อยกว่า 80%
- ส่วนที่ 2 การทดสอบ สัมภาษณ์ ในวันเดียวกันภายหลังการทดสอบส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- มหาวิทยาลัยจะประกาศผลและกำหนดการผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาในแต่ละทุนการศึกษา หัวข้อ “ประกาศผลและกำหนดการ”
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุนสำรวจโลก
ประกาศผลประกาศผล
คุณสมบัติ
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
- เป็นผู้มีความสามารถพิเศษ หรือมีผลงานทางวิชาการ/กิจกรรมโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม) ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไฟล์เดียวขนาดไม่เกิน 20 MB ในรูปแบบ Adobe Acrobat Reader Portable Document Format (.PDF) ส่งที่ อีเมล์ [email protected] แบบแนบไฟล์ผลงาน (Attachment File) เท่านั้น ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567 ระบุเรื่อง “ขอส่งแฟ้มสะสมผลงานเพื่อสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม) ของนาย/นางสาว(ชื่อ) (นามสกุล) (โรงเรียน)” มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ไม่รับพิจารณาการส่งผลงานผ่านช่องทางอื่น
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก จะต้องเข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการ โดยทางมหาวิทยาลัยจะแจ้งสถานที่ วัน และเวลา สัมภาษณ์ในภายหลัง ทางอีเมลของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุน AU The Creator of Tomorrow ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม
ประกาศผลประกาศผล
คุณสมบัติ
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- ไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนในต่างประเทศ หรือเทียบวุฒิการศึกษาจากต่างประเทศ
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป/li>
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนสอบแข่งขัน) ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี สถานที่ วันและเวลาจะแจ้งทางอีเมล์ของผู้สมัครในภายหลัง
- ศูนย์สอบ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
- ต้องผ่านคะแนนส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎีไม่น้อยกว่า 80%
- ส่วนที่ 2 การทดสอบ สัมภาษณ์ ในวันเดียวกันภายหลังการทดสอบส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุน AU The Creator of Tomorrow ประเภททุนสอบแข่งขัน
ประกาศผลประกาศผล
คุณสมบัติ
- เป็นนักเรียนของโรงเรียนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป
- สมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องแจ้งความประสงค์ขอรับทุนการศึกษาผ่านฝ่ายแนะแนวของโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมอบสิทธิ์ให้แก่โรงเรียนที่จะกำหนดวิธีการอื่นใดเพิ่มเติมในการพิจารณาคัดเลือกส่งชื่อผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาตามจำนวนทุนการศึกษาที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญแจ้งไว้ในหนังสือมอบทุน
ในกรณีโรงเรียนส่งชื่อผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาเพิ่มเติมหรือคุณสมบัตินอกเหนือจากที่มหาวิทยาลัยแจ้งไว้ในหนังสือมอบทุน การพิจารณาทุนการศึกษาให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - โรงเรียนส่ง หนังสือแจ้งรายชื่อของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา พร้อมระบุ คณะที่ประสงค์จะเข้าศึกษา โดยผู้อำนวยการหรือรักษาการแทนผู้อำนวยการของโรงเรียนเป็นผู้ลงนาม พร้อมตราประทับของโรงเรียน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566 ตามที่อยู่ ดังนี้
- “ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน” สำนักทะเบียนและประมวลผล, มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 592/3 ซ.รามคำแหง 24,แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับ ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน ภายในวันที่ 31 มกราคม 2566
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2566
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน
ประกาศผล ประกาศผล
คุณสมบัติ
- เป็นนักเรียนของโรงเรียนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
โดยเข้าเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รวมระยะเวลา 12 ปี - สมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องแจ้งความประสงค์ขอรับทุนการศึกษาผ่านโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่
- โรงเรียนส่ง หนังสือแจ้งรายชื่อของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา พร้อมระบุ คณะที่ประสงค์จะเข้าศึกษา โดยผู้อำนวยการหรือรักษาการแทนผู้อำนวยการของโรงเรียนเป็นผู้ลงนาม พร้อมตราประทับของโรงเรียน (ส่งพร้อม ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2566) ตามที่อยู่ข้างต้น
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ประมาณการค่าเล่าเรียน
คุณสมบัติ
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- มีผลการเรียนสะสม ไม่น้อยกว่า 2.00
- เป็นผู้มีความสามารถ และมีผลงานทางการกีฬาโดดเด่น ตามระเบียบและเงื่อนไขในการรับทุนนักกีฬาของมหาวิทยาลัย (รายละเอียดโครงการทุนนักกีฬา ระดับปริญญาตรี (แรกเข้า) ในชนิดกีฬาดังนี้ เทคควันโด ยูยิตสู
คาราเต้โด ฮับคิโด ว่ายน้ำ กอล์ฟ เทนนิส แบดมินตัน เทเบิลเทนนิส หมากล้อม ครอสเวิรด์ ยิงปืน
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- ผู้สมัครจะต้องกรอกรายละเอียดการสมัครขอรับทุนการศึกษา ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน ATHLETES SCHOLARSHIP (ทุนนักกีฬา ระดับปริญญาตรี) ผ่านทางเว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566
- ผู้สมัคร ต้อง ส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ขนาดไม่เกิน 20 MB ในรูปแบบไฟล์ PDF ส่งที่ อีเมล์ [email protected] หรือศูนย์การกีฬา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566
- ผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือกแฟ้มสะสมผลงาน จะต้องเข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการ โดยทางมหาวิทยาลัยจะแจ้งนัดหมาย วัน และเวลา สถานที่สัมภาษณ์ ภายหลัง ผ่านทางช่องทางติดต่อที่ให้ไว้ของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุนนักกีฬา
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
เป็นโครงการของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้กู้ยืมเงินเพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าบำรุงการศึกษา ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา
สนใจติดต่อ
www.sa.au.edu
www.studentloan.or.th
คุณสมบัติทั่วไป
คู่มือสำหรับนักศึกษากองทุนเงินให้เพื่อการศึกษาคู่มือสำหรับนักศึกษากองทุนเงินให้เพื่อการศึกษา
การประกาศกำหนดการและผลการพิจารณาทุนการศึกษา
- มหาวิทยาลัยจะประกาศกำหนดการต่าง ๆ ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.edu และทางอีเมล์ของผู้สมัครฯ
หากผู้สมัครขอรับทุนฯ ไม่ได้กรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุนการศึกษา จะไม่ได้รับการแจ้งประกาศกำหนดการต่าง ๆ และถึงแม้นว่าจะผ่านการพิจารณาทุนการศึกษาก็จะไม่ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา
- การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.edu หัวข้อ “ประกาศผล”
ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ที่ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา จะต้องเข้าร่วมการประชุมสำหรับนักศึกษาทุนฯ ซึ่งจะจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ โดยจะแจ้งสถานที่ วันและเวลาการประชุมในภายหลัง และผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาที่มีความประสงค์จะยืนยันสิทธิ์ในการรับทุนการศึกษาต้องนำสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง จำนวน 1 ฉบับ มายื่นที่การประชุมดังกล่าว
- ผู้ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาต้องชำระค่าแรกเข้าและค่าลงทะเบียนเรียนหลักสูตรปรับพื้นฐานภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนดสำหรับนักศึกษาทุน โดยจะแจ้งให้ทราบในการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.eduหัวข้อ “ประกาศผล”
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญจะตัดสิทธิ์การได้รับทุนการศึกษา หากพบว่าผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษามิได้ปฎิบัติหรือมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ @dekabac66
โทร 02-3004543 ต่อ 3555
ประกาศผลผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566วันที่ 21 มีนาคม 2566 เวลา 17:00 น.
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์ทุน AU the Creator of Tomorrow ประจำปีการศึกษา 2566
ประกาศกำหนดการ ทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2566
ทุนสำรวจโลก E-Listening
เกิดขึ้นจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และบริษัท เนกซ์สเตป จำกัด โดยเริ่มโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2546 และต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันเป็นครั้งที่ 19 และเพื่อเป็นการสานต่อโครงการ ทุนสำรวจโลก E-Listening ในปีนี้จึงมีแนวคิดร่วมกันในการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนทั่วประเทศ โดยการจัดสอบชิงทุนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในคณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จำนวน 100 ทุน มีมูลค่ารวมเป็นเงินทั้งสิ้นกว่า 35 ล้านบาท
คุณสมบัติ
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- ไม่จำกัดผลการเรียน
- ไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาโรงเรียนนานาชาติในประเทศหรือจากโรงเรียนในต่างประเทศ หรือเทียบวุฒิการศึกษาจากต่างประเทศ
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุนสำรวจโลก E-Listening ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ส่วนที่ 1 การทดสอบ ทฤษฎี ข้อสอบเป็นรูปแบบการตอบคำถาม เกี่ยวกับสาระความรู้ที่ได้จากการรับชมสารคดีทางช่องรายการสำรวจโลก ทางช่องดิจิตอลทีวี “นิว 18” หรือที่เว็บไซต์ elistening.net สถานที่ วันและเวลาสอบจะแจ้งทางอีเมล์ของผู้สมัครในภายหลัง
- ศูนย์สอบ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
- ต้องผ่านคะแนนส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎีไม่น้อยกว่า 80%
- ส่วนที่ 2 การทดสอบ สัมภาษณ์ ในวันเดียวกันภายหลังการทดสอบส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- มหาวิทยาลัยจะประกาศผลและกำหนดการผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาในแต่ละทุนการศึกษา หัวข้อ “ประกาศผลและกำหนดการ”
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุนสำรวจโลก
ประกาศผลประกาศผล
คุณสมบัติ
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
- เป็นผู้มีความสามารถพิเศษ หรือมีผลงานทางวิชาการ/กิจกรรมโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม) ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไฟล์เดียวขนาดไม่เกิน 20 MB ในรูปแบบ Adobe Acrobat Reader Portable Document Format (.PDF) ส่งที่ อีเมล์ [email protected] แบบแนบไฟล์ผลงาน (Attachment File) เท่านั้น ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567 ระบุเรื่อง “ขอส่งแฟ้มสะสมผลงานเพื่อสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม) ของนาย/นางสาว(ชื่อ) (นามสกุล) (โรงเรียน)” มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ไม่รับพิจารณาการส่งผลงานผ่านช่องทางอื่น
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก จะต้องเข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการ โดยทางมหาวิทยาลัยจะแจ้งสถานที่ วัน และเวลา สัมภาษณ์ในภายหลัง ทางอีเมลของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุน AU The Creator of Tomorrow ประเภททุนความสามารถพิเศษ ผลงานทางวิชาการ หรือกิจกรรม
ประกาศผลประกาศผล
คุณสมบัติ
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- ไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนในต่างประเทศ หรือเทียบวุฒิการศึกษาจากต่างประเทศ
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป/li>
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน AU The Creator of Tomorrow (ประเภททุนสอบแข่งขัน) ภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
- ส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี สถานที่ วันและเวลาจะแจ้งทางอีเมล์ของผู้สมัครในภายหลัง
- ศูนย์สอบ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
- ต้องผ่านคะแนนส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎีไม่น้อยกว่า 80%
- ส่วนที่ 2 การทดสอบ สัมภาษณ์ ในวันเดียวกันภายหลังการทดสอบส่วนที่ 1 การทดสอบทฤษฎี
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 31 มกราคม 2567
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุน AU The Creator of Tomorrow ประเภททุนสอบแข่งขัน
ประกาศผลประกาศผล
คุณสมบัติ
- เป็นนักเรียนของโรงเรียนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
- มีระดับผลการเรียนรวม (G.P.A.X.) ใน 5 ภาคการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป
- สมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องแจ้งความประสงค์ขอรับทุนการศึกษาผ่านฝ่ายแนะแนวของโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมอบสิทธิ์ให้แก่โรงเรียนที่จะกำหนดวิธีการอื่นใดเพิ่มเติมในการพิจารณาคัดเลือกส่งชื่อผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาตามจำนวนทุนการศึกษาที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญแจ้งไว้ในหนังสือมอบทุน
ในกรณีโรงเรียนส่งชื่อผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาเพิ่มเติมหรือคุณสมบัตินอกเหนือจากที่มหาวิทยาลัยแจ้งไว้ในหนังสือมอบทุน การพิจารณาทุนการศึกษาให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - โรงเรียนส่ง หนังสือแจ้งรายชื่อของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา พร้อมระบุ คณะที่ประสงค์จะเข้าศึกษา โดยผู้อำนวยการหรือรักษาการแทนผู้อำนวยการของโรงเรียนเป็นผู้ลงนาม พร้อมตราประทับของโรงเรียน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566 ตามที่อยู่ ดังนี้
- “ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน” สำนักทะเบียนและประมวลผล, มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 592/3 ซ.รามคำแหง 24,แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องกรอกรายละเอียดข้อมูลประวัติส่วนตัวและรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับ ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน ภายในวันที่ 31 มกราคม 2566
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ระยะเวลาการสมัครขอรับทุนภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2566
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน
ประกาศผล ประกาศผล
คุณสมบัติ
- เป็นนักเรียนของโรงเรียนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมอบทุนให้
โดยเข้าเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รวมระยะเวลา 12 ปี - สมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประจำปีการศึกษา 2567
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษาจะต้องแจ้งความประสงค์ขอรับทุนการศึกษาผ่านโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่
- โรงเรียนส่ง หนังสือแจ้งรายชื่อของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา พร้อมระบุ คณะที่ประสงค์จะเข้าศึกษา โดยผู้อำนวยการหรือรักษาการแทนผู้อำนวยการของโรงเรียนเป็นผู้ลงนาม พร้อมตราประทับของโรงเรียน (ส่งพร้อม ทุน 90 ปี เจษฎาจารย์มาร์ติน ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2566) ตามที่อยู่ข้างต้น
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ประมาณการค่าเล่าเรียน
คุณสมบัติ
- สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- มีผลการเรียนสะสม ไม่น้อยกว่า 2.00
- เป็นผู้มีความสามารถ และมีผลงานทางการกีฬาโดดเด่น ตามระเบียบและเงื่อนไขในการรับทุนนักกีฬาของมหาวิทยาลัย (รายละเอียดโครงการทุนนักกีฬา ระดับปริญญาตรี (แรกเข้า) ในชนิดกีฬาดังนี้ เทคควันโด ยูยิตสู
คาราเต้โด ฮับคิโด ว่ายน้ำ กอล์ฟ เทนนิส แบดมินตัน เทเบิลเทนนิส หมากล้อม ครอสเวิรด์ ยิงปืน
ขั้นตอนการสมัครขอรับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ต้องสมัครเป็นนักศึกษาและมีรหัสประจำตัวนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
- ผู้สมัครจะต้องกรอกรายละเอียดการสมัครขอรับทุนการศึกษา ในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุน ATHLETES SCHOLARSHIP (ทุนนักกีฬา ระดับปริญญาตรี) ผ่านทางเว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566
- ผู้สมัคร ต้อง ส่งแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ขนาดไม่เกิน 20 MB ในรูปแบบไฟล์ PDF ส่งที่ อีเมล์ [email protected] หรือศูนย์การกีฬา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2566
- ผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือกแฟ้มสะสมผลงาน จะต้องเข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการ โดยทางมหาวิทยาลัยจะแจ้งนัดหมาย วัน และเวลา สถานที่สัมภาษณ์ ภายหลัง ผ่านทางช่องทางติดต่อที่ให้ไว้ของผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา
- การพิจารณาทุนการศึกษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เงื่อนไขการให้ทุนการศึกษา1 “ผู้รับทุน” จะได้รับทุนการศึกษา สำหรับค่าใช้จ่ายหัวข้อ “TUITION FEE” ในการลงทะเบียนเรียน ตามจำนวนที่คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้กำหนดไว้สำหรับคณะ/สาขาวิชาที่ “ผู้รับทุน” สมัครเข้าศึกษา
ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ สำหรับคณะต่าง ๆ ได้ที่ ตารางประมาณการค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษาทุนฯ ที่เว็ปไซต์ www.scholarship.au.edu
2 ในระหว่างรับทุนการศึกษา ผู้รับทุนเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่าย ในการลงทะเบียนเรียน “REGISTRATION FEE” นอกเหนือจากทุนการศึกษาในข้อ 1 หากผู้รับทุนใช้ทุนการศึกษาลงทะเบียนจนครบจำนวนที่กำหนดหรือสิ้นสุดระยะเวลาตามหลักสูตรที่ผู้ให้ทุนกำหนด หรืออย่างใดอย่างหนึ่งถึงก่อน ผู้รับทุนต้องชำระค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนสำหรับวิชาที่คงเหลือตามหลักสูตรด้วยตนเองจนครบสำเร็จเป็นบันฑิตของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อนึ่งหากผู้รับทุนลงทะเบียนเรียนในรายวิชาใดแล้ว หากเพิกถอนวิชา (SUBJECT WITHDRAWAL) หรือเปลี่ยนแปลงกลุ่มการเรียน (SECTION CHANGE) ถือว่าผู้รับทุนได้ใช้ทุนการศึกษาในการลงทะเบียนในรายวิชานั้นแล้วเมื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นอีกครั้ง ทุนการศึกษาจะถูกหักจำนวนเงินสำหรับค่าหน่วยกิตจากทุนการศึกษาในรายวิชานั้นเต็มจำนวน
ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากทุนการศึกษา ได้แก่ ค่า University fee, Summer fee, Computer Lab, Field trip, OPE Assessment, Campus Network, Project, Faculty fee, Faculty Lab fee, Studio fee, Practicum fee, Pre-thesis, Thesis, Thesis exhibition, Internship, Private lesson, Activities fee, และค่า Proposal defense.
3 ผู้รับทุนต้องศึกษาในคณะ / สาขาวิชาที่ระบุในการขอรับทุนการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญขอยกเว้นไม่ให้ทุนการศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรการออกแบบและนวัตกรรมดิจิทัล (DDI) คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมการบินทั้ง 2 หลักสูตร (วิชาเอกนักบินพาณิชย์ตรี และวิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน) และคณะนิเทศศาสตร์ หลักสูตรจินตวิศวกรรมสื่อและการเป็นผู้ประกอบการ (IME) และคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถึงคณะ/สาขาวิชาที่จะกำหนดในอนาคต
4 ผู้รับทุนจะต้องมีระดับผลการศึกษาสะสม (CUMULATIVE G.P.A.) ตั้งแต่ 2.50 ขึ้นไป
5 ผู้รับทุนจะต้องช่วยปฏิบัติงานในฐานะนักศึกษาช่วยงานของผู้ให้ทุนตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกำหนด จำนวน 60 ชั่วโมงต่อ 1 ภาคการศึกษา โดยเป็นการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
6 ผู้ให้ทุนจะตัดสิทธิ์ และผู้รับทุนยินยอมให้ตัดสิทธิ์ของผู้รับทุน หากผู้รับทุนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ
7 ถ้ามีเหตุอันเชื่อได้ว่าผู้รับทุนลาออก หรือหยุดการศึกษา อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ผู้รับทุนจะต้องคืน “ทุนการศึกษาที่ได้ใช้ไปทั้งหมด”
8 เมื่อผู้รับทุนสำเร็จการศึกษา ผู้รับทุนไม่ต้องชดใช้ทุนการศึกษาคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
9 มหาวิทยาลัยจะทดสอบวัดระดับพื้นความรู้ทางภาษาอังกฤษ และ/หรือวิชาอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับคณะ/สาขาวิชา) ผ่านการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา หากผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด “ผู้รับทุน” จะต้องลงทะเบียนเพื่อเรียนวิชาภาษาอังกฤษหลักสูตรเข้ม และ/หรือวิชาอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อเป็นการปรับระดับความรู้ และเพิ่มทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนและเพื่อเตรียมความพร้อมต่อไป
หมายเหตุ สำหรับทุนอัสสัมชนิก ให้ยึดเงื่อนไขทุนการศึกษา เฉพาะ ข้อ 1, 2, 3, 8 และ 9 เท่านั้น
ประมาณการค่าเล่าเรียน
สมัครขอรับทุนการศึกษาทุนนักกีฬา
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
เป็นโครงการของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้กู้ยืมเงินเพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าบำรุงการศึกษา ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา
สนใจติดต่อ
www.sa.au.edu
www.studentloan.or.th
คุณสมบัติทั่วไป
คู่มือสำหรับนักศึกษากองทุนเงินให้เพื่อการศึกษาคู่มือสำหรับนักศึกษากองทุนเงินให้เพื่อการศึกษา
การประกาศกำหนดการและผลการพิจารณาทุนการศึกษา
- มหาวิทยาลัยจะประกาศกำหนดการต่าง ๆ ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.edu และทางอีเมล์ของผู้สมัครฯ
หากผู้สมัครขอรับทุนฯ ไม่ได้กรอกรายละเอียดข้อมูลในแบบฟอร์มการสมัครขอรับทุนการศึกษา จะไม่ได้รับการแจ้งประกาศกำหนดการต่าง ๆ และถึงแม้นว่าจะผ่านการพิจารณาทุนการศึกษาก็จะไม่ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา
- การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.edu หัวข้อ “ประกาศผล”
ผู้สมัครขอรับทุนการศึกษา ที่ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา จะต้องเข้าร่วมการประชุมสำหรับนักศึกษาทุนฯ ซึ่งจะจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ โดยจะแจ้งสถานที่ วันและเวลาการประชุมในภายหลัง และผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาที่มีความประสงค์จะยืนยันสิทธิ์ในการรับทุนการศึกษาต้องนำสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง จำนวน 1 ฉบับ มายื่นที่การประชุมดังกล่าว
- ผู้ได้รับการประกาศรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษาต้องชำระค่าแรกเข้าและค่าลงทะเบียนเรียนหลักสูตรปรับพื้นฐานภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนดสำหรับนักศึกษาทุน โดยจะแจ้งให้ทราบในการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษา ผ่านทางเว็ปไซต์ scholarship.au.eduหัวข้อ “ประกาศผล”
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญจะตัดสิทธิ์การได้รับทุนการศึกษา หากพบว่าผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนการศึกษามิได้ปฎิบัติหรือมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ @dekabac66
โทร 02-3004543 ต่อ 3555